ขอให้ชาวนครพนม คัดค้านการนำเอาพระธาตุพนม ไปประดับบนยอดหลังคาอาคารด่านศุลกากรนครพนม ที่สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 จังหวัดนครพนม

วันเสาร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2554

โรงพยาบาลนครพนม อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม


โรงพยาบาลนครพนม
ถนนอภิบาลบัญชา อำเภอเมืองนครพนม  จังหวัดนครพนม 48000


ตึกอำนวยการโรงพยาบาลหลังใหม่มีขนาดพื้นที่ใช้สอย 5 ชั้น


เป็นตึกอำนวยการโรงพยาบาล ที่สร้างขึ้นใหม่เป็นอันดับ 3 แทนอาคารเดิมที่เคยสร้างมา 2 ครั้งแล้ว










ด้านหน้าโรงพยาบาลนครพนม



ตึกอำนวยการ โรงพยาบาลนครพนม




















จุดคัดกรอง ผู้มาใช้บริการ " ผู้ป่วยนอก "


เจ้าหน้าที่บริการด้านหน้า 










เจ้าหน้าท่ประชาสัมพันธ์




โถงทางเข้า  ส่วนบริการผู้ป่วยนอก










โถงกลาง ส่วนบริการผู้ป่วยนอก


ส่วนประชาสัมพันธ์


เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์


มีที่นั่งพักคอยเป็นสัดส่วน








ห้องยาผู้ป่วยนอก










ห้องบัตร




โถงลิฟต์ชั้นล่าง










ส่วนบริการผู้ป่วยนอก บนชั้น 2  มีห้องพบแพทย์แผนกต่างๆ










คลีนิกสำหรับเด็กเล็ก




งานทะเบียนผู้ป่วยใน








โถงลิฟต์ชั้น 2 






มองจากระเบียงชั้น 2




ลานพระรูปสมเด็จพระราชบิดา ฯ 




โถงลิฟต์ชั้น 3


พื้นที่ชั้น 3 ให้บริการด้านงานทันตกรรม และ การเจาะเลือด








โถงลิฟต์ชั้น 4


ชั้นที่ 4 เป็นส่วนของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ฝ่ายบริหาร















มองจากระเบียงชั้นที่ 5




โถงลิฟต์ชั้น 5




พื้นที่ชั้น 5 ไม่ทราบว่าใช้งานอะไร




พื้นที่ชั้น 5 ดูเหมือนจะยังตกแต่งไม่เสร็จดี 


ด้านหลังตึกอำนวยการใหม่ กับทางเดิน ส่วนเชื่อมกับอาคารเดิม


มีห้องน้ำสำหรับผู้มาติดต่ออยู่ด้านหลังตึกอำนวยการ 


ศูนย์กู้ชีพ นเรนทร ที่ 21 จังหวัดนครพนม


แผนกอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน   โรงพยาบาลนครพนม







ศูนย์กู้ชีพ นเรนทรที่ 21  จังหวัดนครพนม     ตั้งอยู่ด้านข้างตึกอำนวยการ




ทางเข้าแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน และ หน่วยกู้ชีพ " ศูนย์กู้ชีพ นเรนทรที่ 21 จังหวัดนครพนม "


ทางลาดสำหรับรถเข็นผู้ป่วยฉุกเฉิน








ห้องโถงในส่วน " อุบัติเหตุฉุกเฉิน "




โรงพยาบาลนครพนม
ถนนอภิบาลบัญชา  อำเภอเมืองนครพนม  จังหวัดนครพนม




โลโก้ของ " โรงพยาบาลนครพนม  "
ออกแบบ ได้ฉูดฉาดบาดตา  ขาดความสง่างาม คลาสสิค สมหน่วยงาน
ไม่มีภาพลักษณ์ของ  การบริการด้านสุขภาพ และ ไม่มีอัตลักษณ์ของท้องถิ่น

โจทย์ คือ  โรงพยาบาล ที่ไหนๆก็ให้การบริการเหมือนกัน  จะต่างแต่ชื่อของสถานที่ตั้ง ก็เท่านั้นเอง
คำตอบของการออกแบบ  คือ การออกแบบตัวอักษร และ การใส่ลักษณะท้องถิ่นเข้าไป

ปัญหาของการออกแบบ ก็คือ  ประดิษฐ์ประดอยรายละเอียดและสีสรร ที่เยอะเกินความจำเป็น
จนชื่อ " โรงพยาบาลนครพนม "  ดูไร้ความหมาย ไม่โดดเด่น  
 มิหนำซ้ำการใช้รูป พระธาตุ ลักษณะแฟนซี   ก็ไม่ได้ส่งเสริมเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

หลักการออกแบบโลโก้ที่ดี  คือ  ความเรียบง่าย  ความชัดเจน ที่มีเอกลักษณ์ในตัว
และที่สำคัญ  สามารถเขียนหรือวาด ด้วยมือเปล่าได้  โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือช่วย  
สรุปว่า  โลโก้ อันนี้  ควรใช้กับงานที่ต้องการสีสรรความตื่นเต้น เช่น   สโมสรฟุตบอลฯ เป็นต้น
ขอแนะนำให้ใช้ โลโก้ อันนี้ เมื่อ โรงพยาบาล จะมี ชมรม หรือ สโมสรฟุตบอล ในอนาคต ครับ







1 ความคิดเห็น:

  1. เห็นด้วยควรจัดประกวดออกแบบโดยเยาวชนในสถานศึกษาชิงรางวัล...

    ตอบลบ